วันศุกร์ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

การเชื่อมต่อแบบวงแหวน (RING TOPOLOGY)


การเชื่อมต่อแบบวงแหวน (RING TOPOLOGY)
การเชื่อมต่อแบบวงแหวน (RING TOPOLOGY) เป็นการเชื่อมต่อเครือข่าย เป็นรูปวงแหวนหรือแบบวนรอบ โดยสถานีแรก เชื่อมต่อกับสถานีสุดท้าย การรับส่งข้อมูลในเครือข่ายจะต้องผ่านทุกสถานี โดยมีตัวนำข่าวสาร วิ่งไปบนสายสัญญาณ ของแต่ละสถานี ต้องคอยตรวจสอบข้อมูลที่ส่งมา ถ้าไม่ใช่ของตนเอง ต้องส่งผ่านไปยังสถานีอื่นต่อไป ตัวอย่างเช่น การเชื่อมต่อของ IBM Token Ring ที่ต้องมีตัวนำข่าวสาร หรือ Token นำข่าวสารวิ่งวนไปรอบสายสัญญาณหรือ Ring แต่ละสถานีจะคอยตรวจสอบ Token ว่าข่าวสารที่นำมาด้วยเป็นของตนหรือไม่ ถ้าใช่ก็จะรับข่าวสารนั้นไว้ แล้วส่ง Token ให้สถานีอื่นใช้ต่อไปได้
ข้อดี ของการเชื่อมต่อแบบนี้คือ ใช้สายส่งสัญญาณน้อยกว่าแบบดาว เหมาะกับการเชื่อมต่อ ด้วยสายสัญญาณใยแก้วนำแสง เพราะส่งข้อมูลทางเดียวด้วยความเร็วสูง
ข้อเสีย คือถ้าสถานีใดเสีย ระบบก็จะไม่สามารถทำงานต่อไปได้ จนกว่าจะแก้ไขจุดเสียนั้น และยากในการตรวจสอบว่ามีปัญหาที่จุดใด และถ้าต้องการเพิ่มสถานีเข้าไป จะกระทำได้ยาก

ประวัติส่วนตัว

ประวัติส่วนตัว (RESUME)
ชื่อ-นามสกุล (ภาษาไทย) นาย สุรศักดิ์ มุณีรัตน์
ชื่อ-นามสกุล (อังกฤษ) Surasak Muneerat
ที่อยู่ตามทะเบียนบ้าน 74 ต.ท่าชะมวง อ.รัตภูมิ จ.สงขลา 90180

รายละเอียดส่วนตัว
สัญชาติ : ไทย
เชื้อชาติ : ไทย
ศาสนา : พุทธ
วัน/เดือน/ปีเกิด :15/03/2533
สถานที่เกิด :โรงพยาบาล รัตภูมิ
เพศ : ชาย
อายุ : 23 ปี
น้าหนัก : 58 กิโลกรัม
ส่วนสูง : 160 เซนติเมตร
สถานภาพทางการทหาร : พ้นเกณฑ์
เบอร์โทรศัพท์ : 080-7056809
อีเมล์ : Namtan1503@gmail.com,
          tan_deksound@hotmail.com
สาขาวิชาที่เรียน : คอมพิวเตอร์อุตสาหกรรม
ประวัติการศึกษา (เริ่มจากระดับสูงสุดก่อน) ลำดับที่ สถาบันการศึกษา วุฒิการศึกษา/สาขาที่จบ
1.วิทยาลัยเทคนิคหาดใหญ่ ปวส.สาขาเทคโนโลยีระบบเสียง
2.โรงรียนรัตภูมิวิทยา มัธยม แผน วิทย์-คณิต
3.โรงเรียนบ้านเนินนิมิต ประถม

-
ประสบการณ์การทางาน/ฝึกงาน/อบรม/ผลงานทางวิชาการ
1.อบรมการซ่อมบารุงคอมพิวเตอร์ โครงการต้นกล้าอาชีพ
2. ทำงานร้านดอกเตอร์คอม
3. ฝึกงานร้านสากลเทคนิค

วันศุกร์ที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม

สมาชิกในกลุ่ม
1.อาจารย์ ธภัทร ชัยชูโชด อ.ปาล์ม
2.นาย พิทยา เฉกจ่าย แพน
3.นาย วุฒิไกร ฆังคะมะโน บี
4.น.ส. ปิยะวรรณ กิจการ กิ่ง
5.นาย ศุชัยยุทธ์ ซอยตะคุ บ่าว
6.นางสาว วิชุดา หนูแข็ง แอน
7.นาย รุสดีน หมะหละ ดีน
8. นาย วิรัช บิลอะหลี โต
9.นาย อภิลักษณ์ มีชัย นิว
10.นาย ธีรวุฒิ แสงทอง เบล
11.นางสาว กาญจนา สมพร ละมุด
12.น.ส.ศิริขวัญ ชาญณรงค์ แอน
13.นาย กิตติศักดิฺ ปลื้มใจ  เกมส์ 
14.นาย ณัฐพงศ์ เย็นใจ แม็ค
15.น.ส.อัญชลี แสงอรุณ โฟม
16.นาย สุรศักดิ์ มุณีรัตน์   ตาล
17.นายวัชรา ดาวราย        แอม
18.นาย นิธิพงศ์ พงศ์วงประเสริฐ  นิว
19.นางสาวพัชรี เมืองสง  จุ๊บแจง
20.น.ส.อาทิตยา จันทรมณี  ฝน
21.น.ส.สิริพร ชูสิงแค   แอล
22.นาย จักรกฤษณ์ นวนแก้ว โอ
23.นาย กิตติกาญจน์ คชกาญจน์ : กาญจน์
24.นาย ธีระพงศ์ คงโต เอ
25.นายกันตภณ วิทยพันธ์ : คิง
26.น.ส. สุภาวดี ทองศรีสุข ฟิร์ม
27.นาย รัชชานนท์ มณีสุข  ระ
28.นาย จามร กาญจนมุณีย์  มอน
29.นาย ปฐมฤกษ์ ติ้งหมวก จ๊อส
30.นาย ธนภัทร พูนพานิช โสบ
31.น.ส. เนตรชนก สะมะบุบ นก

เทคโนยีการสื่อสาร


     Bluetooth (บลูทูธ) คือ ข้อกำหนดทางคอมพิวเตอร์และโทรคมนาคม ที่กำหนดการติดต่อของโทรศัพท์เครื่องที่คอมพิวเตอร์ และ personal digital assistant (PDA) ซึ่งกันและกัน และโทรศัพท์กับคอมพิวเตอร์ โดยใช้การติดต่อไร้สายแบบช่วงสั้น การใช้เทคโนโลยีนี้ทำให้ผู้โทรศัพท์แบบเซลลูลาร์ เพจเจอร์ และ PDA เช่น palm pilot สามารถสร้างโทรศัพท์แบบ three-in-one ที่มีความสามารถเป็น 2 เท่า ในฐานะโทรศัพท์กระเป๋าหิ้วที่บ้าน หรือในที่ทำงาน, ปรับข้อมูล และสารสนเทศได้อย่างรวดเร็วกับเครื่องคอมพิวเตอร์, ส่งและรับโทรสาร, สั่งพิมพ์ และการเชื่อมต่ออื่น ๆ ทั้งหมดที่คอมพิวเตอร์แบบเคลื่อนที่กันแบบตั้งโต๊ะ สามารถเชื่อมต่อกันได้เท็คโนโลยีนี้ต้องการซิป transceiver ราคาต่ำในอุปกรณ์แต่ละตัว ผลิตภัณฑ์ของเทคโนโลยี Bluetooth คาดว่าจะเริ่มใช้ใน ปี 2000

หลักการทำงาน
          อุปกรณ์แต่ละชนิดจะได้รับการติดตั้ง ไมโครชิป transceiver ที่สามารถส่งและรับความถี่ที่เดิมไม่ใช้ในช่วงความถี่ 2.45 GHz ซึ่งมีให้ทั่วโลก (bandwidth อาจจะแตกต่างกันในแต่ละประเทศ) นอกจากด้านข้อมูล ได้เพิ่มช่องของเสียง 3 ช่อง แต่ละอุปกรณ์จะมี address ขนาด 48 บิตที่เป็นเอกลักษณ์ ตามมาตรฐาน Institute of Electrical and Electronics Engineers 802 การเชื่อมต่อสามารถเป็นแบบ point-to-point หรือ multipoint ช่วงสูงสุดคือ 10 เมตร ข้อมูลสามารแลกเปลี่ยนที่อัตรา 1 megabit ต่อ วินาที (ถึง 2 Mmps ในเทคโนโลยีรุ่นที่ 2) แบบแผนของความถี่ ยินยอมให้อุปกรณ์ในการติดต่อในพื้นที่ ที่มีการรบกวนจากแม่เหล็กไฟฟ้า และมี buitt-in encryption และ verification

ที่มาของคำว่า Bluetooth
          ที่มาของชื่อบลูทูธนั้นนำมาจากกษัตริย์ฮารอล์ด บลูทูธ (King Harold Bluetooth) ของประเทศเดนมาร์ก
          สัญลักษณ์ของอุปกรณ์ คือ ตัวอักษร อักษรรูนส์ Rune เมื่อนำตัวหน้าของชื่อกษัตริย์ Harald Bluetooth มาวางซ้อนกัน
          ตัว H ถูกแทนด้วยสัญลักษณ์กากบาท ที่มีขีดพาดกลางตามแนวตั้ง หรือตัว Hagalaz ในอักษรรูนส์
          ตัว B ถูกแทนด้วยตัว Bekano ซึ่งคล้ายตัว B เดิมอยู่แล้ว 
 เมื่อนำสัญลักษณ์ทั้งสองตัวมาซ้อนกันจึงได้ โลโกของ bluetooth ที่เราเห็นกันอยู่ทุกวันนี้